Menu
About
Why Us
PDPA
PDPA Consultant
DPO Outsource
PDPA Software solutions
PDPA Advisory
Cyber Security
Enterprise Architecture
Data Governance
Vulnerability Assessment
Cybersecurity Audit
Penetration Test
AI Management
AI Training and Education
ISO Implementation Consulting for AI
AI Strategy and Implementation
AI Customization Solutions
ISO Compliance
ISO/IEC 27001:2022
ISO/IEC 27701:2019
ISO/IEC 29100:2011
ISO/IEC 20000-1:2018
ISO/IEC 42001:2023
Knowledge
Privacy & Policy
Contact
หน้าแรก
Knowledge
Knowledge
ย้อนกลับ
หน้าแรก
Knowledge
หมวดหมู่ทั้งหมด
Knowledge
ค้นหา
Knowledge
35 รายการ
ไขข้อสงสัย !! ว่าองค์กรดำเนินการครบถ้วน ตามกฎหมาย PDPA แล้วรึยัง ?
ไขข้อสงสัย !! ว่าองค์กรดำเนินการครบถ้วน ตามกฎหมาย PDPA แล้วรึยัง ?
องค์กรของท่านกำลังประสบปัญหานี้หรือไม่ จ้างที่ปรึกษาหรือจัดทำ PDPA ด้วยตัวเองแล้ว แต่ต้องมาตั้งคำถามกับตัวเองว่านี้องค์กรของเราวางระบบครบถ้วนตามกฎหมายแล้วหรือยัง ??
อ่านต่อ
ข้อมูลส่วนบุคคลมีความเสี่ยงอะไรบ้างนะ ?
ข้อมูลส่วนบุคคลมีความเสี่ยงอะไรบ้างนะ ?
1. การถูกขโมยตัวตน (Identity theft) การถูกขโมยตัวตน ถือเป็นภัยคุกคามที่น่ากลัวมากในปัจจุบัน หรือเรียกได้ว่าเป็นการขโมยข้อมูลส่วนบุคคลนั่นเอง ยกตัวอย่างเช่น ข้อมูลที่ใช้ในการติดต่อสื่อสาร หรือใช้ค้นหาบุคคล หรือข้อมูลที่สามารถใช้ร่วมกับข้อมูลอื่นเพื่อระบุตัวตนได้ ไม่ว่าจะเป็นชื่อนามสกุล สถานที่เกิด รวามไปถึงหมายเลขบัตรเครดิต เบอร์โทรศัพท์ ลายพิมพ์นิ้วมือ เป็นต้น 2. การประมวลผลข้อมูล (Profiling) การนำข้อมูลส่วนบุคคลไปประมลผลเพื่อกำหนด Profile ในการแสวงหาผลประโยชน์และการตลาด โดยไม่ได้รับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล 3. การขายข้อมูล (Misuse) การนำข้อมูลส่วนบุคคลไปขายให้กับบุคคลที่ 3 เพื่อประโยชน์ทางการตลาด 4. การติดตาม สอดแนม (Tracking/ Stalking) การรั่วไหลของข้อมูลส่วนบุคคลบางอย่าง อาจนำไปสู่การติดตามหรือสอดแนมได้ เช่น ที่อยู่ เบอร์โทรศัพท์ หรือข้อมูลบัตรเครดิต เป็นต้น 5. สแปม (Spam) ในปัจจุบัน มีการสแปม หรือการส่งอีเมล/ข้อความโฆษณาหรือจดหมายลูกโซ่ไปให้โดยไม่ได้รับอนุญาตเป็นจำนวนมาก ซึ่งก่อให้เกิดความรำคาญใจต่อผู้รับและต้องเสียเวลาในการกำจัดข้อความเหล่านี้
อ่านต่อ
ข้อยกเว้นที่ชอบด้วยกฎหมาย ก็มีนะ !
ข้อยกเว้นที่ชอบด้วยกฎหมาย ก็มีนะ !
1. เพื่อจัดทำเอกสารประวัติศาสตร์ จดหมายเหตุ วิจัย สถิติ 2. เพื่อป้องกันหรือระงับอันตรายต่อชีวิต 3. มีความจำเป็นเพื่อปฏิบัติตามสัญญาระหว่างผู้ควบคุมข้อมูลกับเจ้าของข้อมูล 4. มีความจำเป็นเพื่อดำเนินการเพื่อประโยชน์สาธารณะของผู้ควบคุมข้อมูล หรือปฏิบัติหน้าที่ในการใช้อำนาจรัฐที่ได้รับมอบหมายแก่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล 5. มีความจำเป็นในการดำเนินการเพื่อผลประโยชน์อันชอบด้วยกฎหมายของผู้ควบคุมข้อมูล แต่ต้องไม่ก่อให้เกิดการละเมิดสิทธิและเสรีภาพขั้นพื้นฐานของเจ้าของข้อมูล 6. เป็นการปฏิบัติตามกฎหมายของผู้คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 7. เป็นข้อมูลผู้เสียชีวิตแล้ว
อ่านต่อ
4 สิ่ง ที่ต้องทำ เพื่อให้เป็นไปตาม PDPA
4 สิ่ง ที่ต้องทำ เพื่อให้เป็นไปตาม PDPA
1. การประเมินความเสี่ยง ควรมีการจัดทำกระบวนการประเมินความเสี่ยงอยู่เสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าการออกแบบและกระบวนการมีความถูกต้องและเหมาะสม 2. การธรรมาภิบาลข้อมูล ควรมีการกำกับดูแลข้อมูล เพื่อให้ทราบว่ามีข้อมูลอะไรบ้าง จัดเก็บอยู่ที่ใด และมีใครสามารถเข้าถึงข้อมูลได้บ้าง 3. การบริหารเพื่อให้มีการปฏิบัติตามกฏเกณฑ์ ต้องมีการศึกษาและบริหารจัดการข้อมูล ให้เป็นไปตามที่ พ.ร.บ. กำหนด 4. มาตรการรับมือเมื่อข้อมูลรั่วไหล ต้องมีการจัดทำมาตรการการรับมือและตอบสนองต่อภัยคุกคามที่ส่งผลกระทบให้ข้อมูลรั่วไหล รวมถึงการจัดการเมื่อมีเหตุการณ์ข้อมูลรั่วไหลเกิดขึ้น
อ่านต่อ
เป็นผู้ประกอบการ ต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้างในการทำ PDPA
เป็นผู้ประกอบการ ต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้างในการทำ PDPA
1. แต่งตั้ง DPO องค์กรควรแต่งตั้ง DPO เพื่อเป็นผู้ให้คำแนะนำ และตรวจสอบการดำเนินงานภายในองค์กรให้สอดคล้องตาม พ.ร.บ. และเป็นผู้ประสานงานกับสำนักงานคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล 2. Training/Awareness มีการจัดอบรมพนักงานภายใน ให้รู้จัก เข้าใจ และเห็นถึงความสำคัญของ PDPA เพื่อให้เกิดความร่วมมือจากพนักงาน 3. Data Impact Assessment มีการประเมินความเสี่ยงในการนำข้อมูลต่าง ๆ มาใช้งาน ว่ามีความเสี่ยงมากน้อยเพียงใด และหากมีการรั่วไหลของข้อมูลจะกระทบกับการทำธุรกิจมากเพียงใด 4. Privacy Notice มีการจัดทำนโยบายความเป็นส่วนตัว (Privacy Policy) ออกมาเป็นเอกสาร ซึ่งจะมีการอธิบายรายละเอียดต่าง ๆ ในการจัดเก็บข้อมูลส่วนบุคคล 5. Consent Management องค์กรต้องจัดทำการขอรับความยินยอมจากเจ้าของข้อมูล โดยมีเอกสารและแบบฟอร์มต่าง ๆ โดยต้องระบุถึงรายละเอียดในการจัดเก็บข้อมูลว่ามีข้อมูลอะไรบ้าง และมีวัตถุประสงค์อย่างไร 6. Security Measure องค์กรต้องมีการจัดการรักษาความปลอดภัยของข้อมูลส่วนบุคคล ไม่ว่าจะเป็นด้านการบริหารจัดการ ด้านเทคนิค ทางกายภาพ รวมถึงการเข้าถึงหรือควบคุมการใช้งาน เพื่อป้องกันการรั่วไหลของข้อมูล 7. Data Subject Rights Management ต้องมีการจัดเตรียมช่องทางนาการขอใช้สิทธิของเจ้าของข้อมูล เพื่อให้เจ้าของข้อมูลสามารถขอสิทธิในการลบ แก้ไข โอน และจัดการข้อมูลให้เป็นปัจจุบันได้ 8. Data Processing Agreement องค์กรต้องมีการจัดทำข้อสัญญาการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล กำหนดข้อตกลงและเงื่อนไขต่าง ๆ ของผู้ให้บริการและผู้รับบริการให้เป็นไปตามข้อกำหนด เพื่อป้องกันความเสียหายที่อาจเกิดขึ้นกับองค์กร 9. Data Breach Management Plan องค์กรต้องมีกระบวนการจัดการเมื่อเกิดการรั่วไหลของข้อมูลเกิดขึ้น ตั้งแต่การแจ้งสำนักงานคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และแจ้งให้เจ้าของข้อมูลทราบ รวมถึงมาตรการเยียวยาเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคลที่ได้รับความเสียหาย
อ่านต่อ
ถ้าละเมิด พ.ร.บ. จะเกิดอะไรขึ้น ?
ถ้าละเมิด พ.ร.บ. จะเกิดอะไรขึ้น ?
จากพ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ซึ่งจะบังคับใช้อย่างเต็มรูปแบบในวันที่ 1 มิถุนายน 2564 นี้ ได้ระบุโทษไว้ทั้งทางแพ่ง ทางอาญา และทางปกครอง
อ่านต่อ
«
1
2
3
4
5
6
»
ไปหน้า :
ตกลง
(ทั้งหมด 6 รายการ)
×
Line
×
Tel
0647141199
Another Service
Cybersecurity Audit
Cybersecurity Audit
ภัยคุกคามทางไซเบอร์ที่มีความรุนแรงและซับซ้อนขึ้นอย่างมาก PDPA Plus จึงมีบริการตรวจสอบภายในด้านความปลอดภัยทางไซเบอร์ตามพระราชบัญญัติ การรักษาความปลอดภัยมั่นคงไซเบอร์ พ.ศ. 2562 และพระราชบัญญัติข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 เพื่อป้องกัน การถูกโจมตีทางไซเบอร์ และเพื่อให้สอดคล้องกับกฎหมายที่มีการประกาศใช้
2902 ผู้เข้าชม
Data Governance
Data Governance
Data Governance คือ การวางนโยบายในการกำกับดูแลข้อมูล โดยจะต้องมีการกำหนดบทบาทหน้าที่ วางกระบวนการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับข้อมูลตาม Life-cycle และกำหนดเทคโนโลยีที่เหมาะสมที่จะใช้เพื่อบริหารข้อมูล ไม่ว่าจะเป็นข้อมูลทั่วไป หรือ ข้อมูลส่วนบุคคล เพื่อมีการกำกับดูแลข้อมูลที่ดี
2254 ผู้เข้าชม
Enterprise Architecture
Enterprise Architecture
เพื่อสร้างกรอบแนวทางในการพิจารณาเปลี่ยนแปลงการทำงานโดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ จึงจำเป็นต้องมีการจัดทำสถาปัตยกรรมองค์กร (EA)
7250 ผู้เข้าชม
Penetration Testing
Penetration Testing
Penetration Testing
2126 ผู้เข้าชม
Vulnerability Assessment
Vulnerability Assessment
Vulnerability Assessment
3652 ผู้เข้าชม
บริการเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO) Outsource
บริการเจ้าหน้าที่คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล (DPO) Outsource
เราให้บริการ DPO จากผู้ให้บริการภายนอก (outsourced DPO services) ที่ผ่านการฝึกอบรมอย่างเข้มข้น เข้าใจธุรกิจ มีประสบการณ์ และ สามารถช่วยองค์กรจัดการด้านข้อมูลส่วนบุคคลอย่างมีประสิทธิภาพ และ ลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จำเป็น
5041 ผู้เข้าชม
เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้ (Cookies) เพื่อให้ท่านได้รับประสบการณ์การใช้งานที่ดียิ่งขึ้น
นโยบายคุกกี้
ตั้งค่าคุกกี้
ยอมรับ
×
ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น
เปิดใช้งานตลอดเวลา
คุกกี้พื้นฐานที่จำเป็น เพื่อช่วยให้การทำงานหลักของเว็บไซต์ใช้งานได้ รวมถึงการเข้าถึงพื้นที่ที่ปลอดภัยต่าง ๆ ของเว็บไซต์ หากไม่มีคุกกี้นี้เว็บไซต์จะไม่สามารถทำงานได้อย่างเหมาะสม และจะใช้งานได้โดยการตั้งค่าเริ่มต้น โดยไม่สามารถปิดการใช้งานได้
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์
คุกกี้ในส่วนวิเคราะห์ จะช่วยให้เว็บไซต์เข้าใจรูปแบบการใช้งานของผู้เข้าชมและจะช่วยปรับปรุงประสบการณ์การใช้งาน โดยการเก็บรวบรวมข้อมูลและรายงานผลการใช้งานของผู้ใช้งาน
คุกกี้ในส่วนการตลาด
คุกกี้ในส่วนการตลาด ใช้เพื่อติดตามพฤติกรรมผู้เข้าชมเว็บไซต์เพื่อแสดงโฆษณาที่เหมาะสมสำหรับผู้ใช้งานแต่ละรายและเพื่อเพิ่มประสิทธิผลการโฆษณาสำหรับผู้เผยแพร่และผู้โฆษณาสำหรับบุคคลที่สาม
สร้างเว็บไซต์สำเร็จรูปฟรี
By SoGoodWeb.com